Robotics/Coding เป็นยุคสมัยที่จัดการเรียนรู้โดยนำหุ่นยนต์มาเป็นสื่อหนึ่งในการสร้างภาพให้เห็นการทำงานเป็นขั้นตอนและวิธีการคิดแก้ปัญหาที่เป็นระบบ ซึ่งเป็นผลจากการคิดเชิงคำนวณ
Game-Based Learning (GBL) เป็นนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ Active Learning โดยใช้เกมเป็นสื่อการเรียนรู้ ออกแบบการเรียนรู้โดยสอดแทรกเนื้อหาบทเรียนลงไปในเกม ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านกิจกรรมที่ออกแบบไว้ ทำให้ผู้เรียนได้รับความรู้ ทักษะ และความเพลิดเพลินไปพร้อมๆกันจากการเล่นเกมและเป็นการจูงใจให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง
Mobile Learning หรือ m-Learning เป็นการจัดการเรียนรู้ที่นำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านอุปกรณ์เทคโนโลยีไร้สายและเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาด้วยอุปกรณ์ประเภทเคลื่อนที่ (Mobile Device) เช่น Smart Phone, Notebook Computer, Tablet PC เป็นต้น
การเรียนรู้ที่ต้องอาศัยพฤติกรรมการเรียนรู้และจิตวิทยาพื้นฐาน การจำแนกการเรียนรู้ตามทฤษฎีของบลูม ซึ่งแบ่งเป็น 3 ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย และด้านทักษะพิสัย โดยในแต่ละด้านจะมีการจำแนกระดับความสามารถจากต่ำสุดไปถึงสูงสุด
แนวคิดแนวปฏิบัติที่ให้พลเมืองได้เรียนรู้และมีความสามารถในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างชาญฉลาด มีการบริหารจัดการ กำกับตนเองได้ รวมถึงรู้เท่าทันและสามารถปกป้องตนเองจากความเสี่ยงต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
การให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการศึกษาของตนเองโดยกระตุ้นการเชื่อมโยงส่วนบุคคลระหว่างแนวคิดในตำราเรียนและการประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ "ในชีวิตจริง" ทฤษฎีนี้ช่วยให้นักเรียนสร้างความหมายส่วนตัว และปลูกฝังความสนใจในตัววัสดุ และผู้คนที่พวกเขากำลังทำงานด้วยตลอดจนความสนใจตัวผลงาน
การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน หมายถึง การจัดการเรียนรู้ที่มีครูเป็นผู้กระตุ้นเพื่อนำความสนใจที่เกิดจากตัวนักเรียนมาใช้ในการทำกิจกรรมค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวนักเรียนเอง นำไปสู่การเพิ่มความรู้ที่ได้จากการลงมือปฏิบัติ การฟังและการสังเกตุจากผู้เชี่ยวชาญ โดยนักเรียนมีการเรียนรู้ผ่านกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม ที่จะนำมาสู่การสรุปความรู้ใหม่ มีการเขียนกระบวนการจัดทำโครงงานและได้ผลการจัดกิจกรรมเป็นผลงานแบบรูปธรรม
เกมมิฟิเคชั่น (Gamification) หมายถึง การใช้เทคนิคในรูปแบบของเกมโดยไม่ใช้ตัวเกม เพื่อเป็นสิ่งที่ช่วยในการกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่สนุกสนาน ใช้กลไกของเกมเป็นตัวดำเนินการอย่างไม่ซับซ้อน อันจะทำให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรม ตรวจสอบ ปรับปรุง และหาวิธีการแก้ไขปัญหา
“WE–STRONG สร้างครูดีสู่ห้องเรียน” จัดทำขึ้นเพื่อสร้างนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต ๕ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ประเภทผู้บริหาร ตามปฏิทินการดำเนินงานโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างห้องเรียนคุณธรรม โดยใช้นวัตกรรม WE–STRONG สร้างครูดีสู่ห้องเรียน เพื่อให้ครูและนักเรียนกำหนดคุณธรรมอัตลักษณ์เพิ่มเติมเป็นของห้องเรียน และ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของนักเรียนให้เพิ่มขึ้น พัฒนาขึ้นเป็นแนวทางในการดำเนินกิจกรรมพัฒนาครูให้มีความตระหนัก ชักนำคุณธรรมสู่ห้องเรียน เพียรติดตามความดี มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเชิดชูนักเรียนดีมีคุณธรรม ผ่านกระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วม SWOT กำกับด้วยวงจรบริหารงานคุณภาพ PDCA ประกอบด้วยการวางแผน การปฏิบัติ การตรวจสอบ และการดำเนินการให้เหมาะสม โดยมีผู้บริหาร ครูและนักเรียน ผู้ปกครอง และศึกษานิเทศก์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นบุคลากรสำคัญในการดำเนินงานพัฒนารูปแบบนวัตกรรม
Adaptive learning เป็นการเรียนรู้ที่ปรับวิธีการให้ตรงกับรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน บนความเชื่อเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Difference) การสอนที่ปรับให้เข้ากับผู้เรียนทำให้เกิดการเรียนรู้ได้รวดเร็ว เหมาะสมกับบุคคลเช่น กิจกรรมการเรียนด้วยภาพ เสียง สื่อสำหรับผู้เรียน เสริมกระบวนการเรียน การเรียนรู้แบบ Adaptive Learning ได้ถูกปรับเปลี่ยนวิธีการ และได้รับพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความน่าสนใจมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้สื่อเข้ามามีส่วนร่วม การใช้เทคโนโลยี เทคนิคการ เรียนการสอนแบบใหม่ ๆ หรือแม้แต่แนวคิดการทำงานในองค์กรก็สามารถถูกนำมาเป็นรูปแบบ การเรียนรู้ได้
นักการศึกษาเห็นพ้องต้องกันว่า คะแนนควรจูงใจนักเรียนและวัดผลการเรียนรู้อย่างเป็นธรรม แต่ไม่ใช่ทุกระบบการให้คะแนน ผู้นำด้านการศึกษาจึงหันมาใช้ระบบการให้คะแนนทางเลือก เพื่อส่งเสริมการพัฒนานักเรียนที่เท่าเทียมกันและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
แบบฝึกทักษะการอ่านการเขียน เป็นแบบฝึกที่ช่วยฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ ด้านการอ่านการเขียนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิดทำให้นักเรียนไม่ได้มาเรียน On Site ทำให้นักเรียนเกิดการถดถอยทางการเรียนรู้ แบบฝึกมีท้ังหมด 5 ชุด
การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ เป็นการจัดการศึกษาที่เน้นความรู้และทักษะอาชีพให้สอดคล้องกับสภาพของแต่ละท้องถิ่น ให้ผู้เรียนมีทักษะความชำนาญการเฉพาะเรื่องสามารถเพิ่มผลผลิต และหรือลดต้นทุนการผลิต มีความรู้และทักษะในการบริหารจัดการอย่างครบวงจร สามารถประกอบอาชีพสมัยใหม่ เป็นผู้ประกอบการเอง หรือรวมกลุ่มกันประกอบอาชีพก็ได้ และรู้จักนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อพัฒนาอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนแบบบูรณาการ หมายถึง การจัดการเรียนรู้โดยการเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวข้องจากศาสตร์ต่างๆ ของรายวิชาเดียวกันหรือรายวิชาต่างๆ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความคิดรวบยอดของศาสตร์ต่างๆ มาใช้ในชีวิตจริงได้
กระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยแหล่งเรียนรู้บูรณาการประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
การจัดการเรียนการสอนรายวิชาพระพุทธศาสนา หรือ สาระพระพุทธศาสนาที่มีเนื้อหาจำนวนมากทำให้ผู้เรียนขาดความสนใจในการเรียนการสอน ครูผู้สอนจึงอยากนำเนื้อหาสาระในหน่วยการเรียนรู้พุทธสาวก พุทธสาวิกา และบุคคลตัวอย่างมาจัดเป็นกิจกรรม AL ,เกม , รวมถึงปัญหาเป็นฐาน
How are you ? TEACHER EP.1 ศน.อิน ชวนเพื่อนๆครูมารู้จักกับ Activity Cycle วงจรการจัดกิจกรรมที่มีประสิทธิภาพ
How are you? TEACHER EP.2 ศน.อิน นำเสนอ การใช้เทคนิค Pre While Post เมื่ออยากใช้สื่อการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียน ดู ฟัง อ่าน
กิจกรรมการเรียนการสอนที่ฝึกให้นักเรียนสามารถเรียบเรียงเรื่องราว และฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ นำมาสู่การใช้จินตนาการผ่าน เรื่องเล่า Story Board ในเรื่องราวชาดก
…สลัดความน่ากลัวของการวิจัย เปลี่ยนมาเป็นผูกมิตร เข้าใจ และใช้ประโยชน์จากมันได้ เราต้องมองข้ามเรื่องเครื่องมือหรือวิธีการไปก่อน แล้วหวนกลับมารู้จักวิธีคิดหรือที่ไปที่มาของวิจัยให้มากขึ้น
ด้วยข้าพเจ้าตรากตรำและเจ็บปวดในสนามรบวิจัยมาพอสมควร จึงมีความกระหายจะเขียนหนังสือเล่มนี้ขึ้นมาเพื่อแชร์ความคิดบางประการที่เกี่ยวกับการทำวิจัย โดยหวังจะเป็นประโยชน์ในเชิงลึกจากก้นบึ้ง (หวังนะ) และเปลี่ยนสนามรบ เป็น สนามรัก (วิจัย) กันได้พอสมควร
ก็หวังว่าจะเขียนเสร็จ พร้อมตีพิมพ์มาให้ยลกันสักช่วง ต.ค. ๖๖ ดังนั้นครับ ครั้งนี้จึงนำ ร่างปฐมบท มาล่อซื้อกับพี่ๆ น้องๆ กันก่อน เผื่อจะมีคนใจดี๊ดี พรีออเดอร์นะฮะ
กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) สามารถฝึก การแก้ไขปัญหาที่เป็นลำดับขั้นตอน ทำให้มองเห็นอย่างรอบคอบมากขึ้น แก้ไขปัญหาได้ค่อนข้างตรงจุดมีทางเลือกหลายทาง และจะพบตัวเลือกที่ดีที่สุด มีประสิทธิภาพที่สุด ได้ฝึกความคิดสร้างสรรค์ ระดมความคิด ซึ่งจะทำให้สมองได้ฝึกคิดหลากหลายรูปแบบและวิธีการ ทำให้เราพบวิธีแปลกใหม่ จนเกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ ๆ ได้เช่นกัน
แผนการจัดการเรียนรู้นี้ ใช้สำหรับการฝึกทักษะนักเรียนด้านการนำเสนอผลงาน ให้รู้และเข้าใจ ตลอดจนนำเสนอข้อมูลและการสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ยกระดับจิตวิญญาณความเป็นครูเพื่อเปลี่ยนอนาคตของชาติให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรมในการดำเนินชีวิต