Australia

Pixel perfect design with awesome contents

Explore Now

การจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ Careers in Education Management



ให้คะแนนสมรรถนะนวัตกรรม


3

3

3

3

3

เลือกความสอดคล้องกับสมรรถนะ

ประเภท : บทความ

เหมาะกับระดับชั้น

อนุบาล

ประถมศึกษา (ป.1-3)

ประถมศึกษา (ป.4-6)

มัธยมศึกษาตอนต้น

มัธยมศึกษาตอนปลาย

หลักการและแนวคิดของนวัตกรรม การนำไปใช้ จุดเด่น
ส่งเสริมให้ นักเรียนโรงเรียนวิไลเกียรติอุปถัมภ์  ให้มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมืองมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงมีคุณธรรมมีงานทำ มีอาชีพ และเป็นพลเมืองดีของชาติ  ได้น้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ในหลวงรัชกาลที่ 10 ในการสร้างพื้นฐานให้แก่นักเรียนด้านการ มีงานทำ มีอาชีพ เพื่อให้คนทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพที่เหมาะสมกับแต่ละช่วงวัย โดยนักเรียนได้รับการพัฒนาอย่างมีคุณภาพทั้งความรู้ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต ทักษะการทำงานที่สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดงาน รวมทั้งมีคุณธรรมจริยธรรม   มี จิตสาธารณะ และสามารถปรับตัวอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ สามารถนำไปปรับใช้ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียนในสถานศึกษา จากการดำเนินงาน ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ทั้งหมด  จำนวน 736 คนได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ สมรรถนะ หรือทักษะอาชีพในด้านต่างๆ เพื่อการประกอบอาชีพจำนวน 736 คนคิดเป็นร้อยละ 100
ข้อควรระวังในการใช้นวัตกรรม ผลที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียน แหล่งเรียนรู้/โรงเรียนต้นแบบ
การดำเนินการพัฒนาทักษะอาชีพในโรงเรียน ยังไม่มีความหลากหลายมากนัก จากการดำเนินงานในการพัฒนาทักษะอาชีพ
- โครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน
- กิจกรรมฐานบูรณาการ-การจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้  การงานอาชีพ และแนะแนว
- กิจกรรมตลาดนัดนักเรียน  สามารถช่วยพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ สมรรถนะ หรือทักษะอาชีพในด้านต่างๆ ได้เป็นอย่างดี
โรงเรียนวิไลเกียรติอุปถัมภ์  สพม.แพร่

https://youtu.be/j6KFkeyCnKA

Comment

Comment

นายสมไชย กระต่ายทอง0 2024-04-05 16:02:24
message user image
ยอดเยี่ยมเลยครับ
ตอบกลับ 0 Reply   0  Like 
นายสมไชย กระต่ายทอง 2024-04-05 16:02:05
message user image
ผลิตมาให้ติดตามเพิ่มนะครับครู
ตอบกลับ 0 Reply   1  Like 
นายอนิรุธ อบชัย2 2023-04-29 15:53:23
message user image
ยอดเยี่ยม
ตอบกลับ 0 Reply   1  Like 
นางสาวกนกวรรณ ศิริเลิศ 2023-04-29 15:48:33
message user image
ดีมากเลยค่ะ
ตอบกลับ 0 Reply   1  Like 

นวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง

BRAIN-BASED LEARNING

การนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวสมองมาใช้เป็นเครื่องมือในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพให้สูงสุด

BLOOM S TAXONOMY

การเรียนรู้ที่ต้องอาศัยพฤติกรรมการเรียนรู้และจิตวิทยาพื้นฐาน การจำแนกการเรียนรู้ตามทฤษฎีของบลูม ซึ่งแบ่งเป็น 3 ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย และด้านทักษะพิสัย โดยในแต่ละด้านจะมีการจำแนกระดับความสามารถจากต่ำสุดไปถึงสูงสุด

DIGITAL CITIZENSHIP

แนวคิดแนวปฏิบัติที่ให้พลเมืองได้เรียนรู้และมีความสามารถในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างชาญฉลาด มีการบริหารจัดการ กำกับตนเองได้ รวมถึงรู้เท่าทันและสามารถปกป้องตนเองจากความเสี่ยงต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล