Australia

Pixel perfect design with awesome contents

Explore Now

How are you ? TEACHER EP.2 (เทคนิค Pre While Post)

ให้คะแนนสมรรถนะนวัตกรรม


3

3

3

3

3

เลือกความสอดคล้องกับสมรรถนะ

ประเภท : บทความ

เหมาะกับระดับชั้น

อนุบาล

ประถมศึกษา (ป.1-3)

ประถมศึกษา (ป.4-6)

มัธยมศึกษาตอนต้น

มัธยมศึกษาตอนปลาย

หลักการและแนวคิดของนวัตกรรม การนำไปใช้ จุดเด่น
การใช้เทคนิค Pre While Post เมื่ออยากใช้สื่อการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียน ดู ฟัง อ่าน

:::Pre:::
แนวคิด = ก่อนที่จะให้ผู้เรียน ชม VDO, ฟังเรื่องราว, อ่านข้อความ ควรทำกิจกรรมที่เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน คาดเดากับสิ่งที่กำลังจะ ดู ฟัง อ่าน (Prediction)

:::While:::
แนวคิด = ในระหว่างการ ดู ฟัง อ่าน ควรมีกิจกรรม หรือโจทย์ให้ผู้เรียนได้ทำอะไรบางอย่าง เป็นการดึงให้ผู้เรียนสนใจและจดจ่อในเรื่อง อย่างตั้งใจ

:::Post:::
แนวคิด = หลังจากการ ดู ฟัง อ่าน ควรให้ผู้เรียนปฏิบัติงานอย่างที่สะท้อนถึงการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่ผู้สอนกำหนดไว้

ข้อควรระวังในการใช้นวัตกรรม ผลที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียน แหล่งเรียนรู้/โรงเรียนต้นแบบ

Comment

Comment

นายสมไชย กระต่ายทอง0 2024-04-06 17:39:52
message user image
ยอดเยี่ยมเลยครับ
ตอบกลับ 0 Reply   0  Like 
นายสมไชย กระต่ายทอง 2024-04-06 17:39:32
message user image
ผลิตมาให้ติดตามเพิ่มนะครับศน.
ตอบกลับ 0 Reply   1  Like 
นางสาวกนกวรรณ ศิริเลิศ2 2023-08-26 09:38:25
message user image
????
ตอบกลับ 0 Reply   1  Like 
นางสาวกนกวรรณ ศิริเลิศ 2023-08-26 09:38:14
message user image
????
ตอบกลับ 0 Reply   1  Like 
นางสาวกนกวรรณ ศิริเลิศ2 2023-08-26 09:33:58
message user image
????
ตอบกลับ 0 Reply   1  Like 
นายวิทยา จงรักษ์ 2023-08-13 19:02:34
message user image
ตอบกลับ 0 Reply   1  Like 

นวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง

WE_STRONG สร้างครูดีสู่ห้องเรียน

“WE–STRONG สร้างครูดีสู่ห้องเรียน” จัดทำขึ้นเพื่อสร้างนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต ๕ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ประเภทผู้บริหาร ตามปฏิทินการดำเนินงานโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างห้องเรียนคุณธรรม โดยใช้นวัตกรรม WE–STRONG สร้างครูดีสู่ห้องเรียน เพื่อให้ครูและนักเรียนกำหนดคุณธรรมอัตลักษณ์เพิ่มเติมเป็นของห้องเรียน และ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของนักเรียนให้เพิ่มขึ้น พัฒนาขึ้นเป็นแนวทางในการดำเนินกิจกรรมพัฒนาครูให้มีความตระหนัก ชักนำคุณธรรมสู่ห้องเรียน เพียรติดตามความดี มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเชิดชูนักเรียนดีมีคุณธรรม ผ่านกระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วม SWOT กำกับด้วยวงจรบริหารงานคุณภาพ PDCA ประกอบด้วยการวางแผน การปฏิบัติ การตรวจสอบ และการดำเนินการให้เหมาะสม โดยมีผู้บริหาร ครูและนักเรียน ผู้ปกครอง และศึกษานิเทศก์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นบุคลากรสำคัญในการดำเนินงานพัฒนารูปแบบนวัตกรรม

Adaptive Learning Algorithms การเรียนรู้ที่เหมาะสม

Adaptive learning เป็นการเรียนรู้ที่ปรับวิธีการให้ตรงกับรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน บนความเชื่อเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Difference) การสอนที่ปรับให้เข้ากับผู้เรียนทำให้เกิดการเรียนรู้ได้รวดเร็ว เหมาะสมกับบุคคลเช่น กิจกรรมการเรียนด้วยภาพ เสียง สื่อสำหรับผู้เรียน เสริมกระบวนการเรียน การเรียนรู้แบบ Adaptive Learning ได้ถูกปรับเปลี่ยนวิธีการ และได้รับพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความน่าสนใจมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้สื่อเข้ามามีส่วนร่วม การใช้เทคโนโลยี เทคนิคการ เรียนการสอนแบบใหม่ ๆ หรือแม้แต่แนวคิดการทำงานในองค์กรก็สามารถถูกนำมาเป็นรูปแบบ การเรียนรู้ได้

Pushing Back on education technology

Pushing Back on Education Technology คือ การนำเทคโนโลยีมาผลักดันให้เกิดการปรับปรุงระบบการศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น เป็นโอกาสใหม่สำหรับทั้งนักเรียนและครูในการทำให้การเรียนรู้และการสอนมีประสิทธิภาพ การนำเทคโนโลยีการศึกษามาใช้ เพื่อให้ได้ประสบการณ์การเรียนรู้ใหม่ ๆ อย่างมีประสิทธิภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการเรียนรู้